Logo
  • Pro Profile
  • Jobs
  • Career
    Career PathwayGrowthEducationInspirationPersonality
    Jobs & IndustriesJob SearchResume & PortfolioSalaryWell-being
  • Education
    Online CoursesMasters Programs
  • Resume Builder
  • Corporate Users
  • Jobcadu Logo

    Best career platform for job search, recruitment, career assessment & education

    10,000+

    Jobs

    Jobs Functions

    Administration & Office

    Marketing

    Customer Service

    Information Technology (IT)

    Accounting & Finance

    Human Resources & People

    Production & Supply Chain

    Engineering

    For Job Seekers

    Jobs

    Resume Builder

    Education Resources

    Resume Resources

    For Corporate Users

    Post Jobs

    Pricing

    Resources

    About Us

    Terms of Use

    Privacy Policy


    © 2025 Jobcadu. All rights reserved

    ​
    ​
    Categories:
    All Categories
    catalog.inspiration
    catalog.personality
    catalog.growth
    catalog.career_pathway
    catalog.resume_portfolio
    catalog.wellbeing
    catalog.education
    catalog.job_search
    catalog.jobs_industries

    617Career content found

    Thumbnail for Introvert, Ambivert, Extrovert – Mỗi cá tính, một hướng đi sự nghiệp

    Introvert, Ambivert, Extrovert – Mỗi cá tính, một hướng đi sự nghiệp

    Mỗi người là một cá thể riêng biệt với màu sắc tính cách khác nhau. Việc hiểu rõ bản thân là người hướng nội (introvert), trung hòa (ambivert) hay hướng ngoại (extrovert) không chỉ giúp bạn sống thuận theo chính mình mà còn mở ra những lựa chọn sự nghiệp phù hợp, bền vững và hạnh phúc hơn. Hướng nội (Introvert) là gì? Người hướng nội thường “nạp năng lượng” bằng cách ở một mình hoặc trong môi trường yên tĩnh. Họ dễ cảm thấy kiệt sức khi phải giao tiếp xã hội quá nhiều hoặc ở nơi đông đúc. Họ không ngại cô đơn – mà thực ra là yêu thích sự tĩnh lặng. Điểm mạnh của người hướng nội: Suy nghĩ sâu sắc: Họ cẩn trọng trước khi đưa ra quyết định, có óc sáng tạo và dễ nhận ra những chi tiết người khác bỏ qua. Tập trung cao: Làm tốt các công việc đòi hỏi sự tỉ mỉ và kiên nhẫn. Lắng nghe tốt: Họ nghe nhiều hơn nói, nhờ đó thấu hiểu người khác sâu sắc hơn. Tự lập: Làm việc hiệu quả khi không bị gián đoạn. Hạn chế cần cải thiện: Khó gần: Dễ bị hiểu nhầm là lạnh lùng hoặc xa cách. Tránh đối đầu: Ngại tranh luận hoặc thể hiện quan điểm trái chiều. Nhanh mệt khi giao tiếp: Cần nhiều thời gian hồi phục sau các sự kiện đông người. Người trung hòa (Ambivert) là ai? Ambivert là người có sự cân bằng giữa hướng nội và hướng ngoại – linh hoạt và dễ thích nghi trong nhiều tình huống. Họ có thể thoải mái khi giao tiếp xã hội, nhưng cũng không ngại ở một mình. Điểm mạnh của người trung tính: Linh hoạt: Dễ hòa nhập vào cả môi trường đông người và không gian riêng tư. Giao tiếp hiệu quả: Biết nói khi cần, biết nghe đúng lúc. Cân bằng tốt: Giữa thời gian xã hội và thời gian cá nhân. Dễ kết nối: Có khả năng đồng cảm và kết nối với đa dạng kiểu người. Hạn chế cần cải thiện: Không rõ thiên hướng: Đôi khi phân vân không biết nghiêng về phía nào. Khó đưa ra quyết định: Trong việc lựa chọn giữa giao tiếp hay thời gian riêng. Người hướng ngoại (Extrovert) là ai? Người hướng ngoại lấy năng lượng từ sự kết nối xã hội. Họ yêu thích đám đông, hoạt động và cảm thấy sống động nhất khi được tương tác với người khác. Ưu điểm nổi bật: Nhiệt huyết, năng động: Thích hành động, không ngại thử thách mới. Lãnh đạo tự nhiên: Thường là người dẫn dắt, truyền cảm hứng. Cởi mở: Không ngại thể hiện suy nghĩ và cảm xúc. Giỏi xây dựng mạng lưới: Yêu thích giao tiếp, kết nối rộng rãi. Điểm cần lưu ý: Dễ nói trước khi nghĩ: Có thể phản ứng nhanh quá mức. Không quen ở một mình: Dễ cảm thấy bồn chồn khi thiếu tương tác. Phụ thuộc vào kích thích bên ngoài: Thiếu năng lượng nếu không có người xung quanh. Nghề nghiệp lý tưởng cho từng nhóm tính cách Hiểu tính cách là cách tốt nhất để định hướng nghề nghiệp phù hợp với bạn – không chỉ giúp phát huy thế mạnh mà còn khiến bạn hạnh phúc hơn trong hành trình sự nghiệp. Nghề phù hợp với người hướng nội: Nhà nghiên cứu/nhà khoa học/chuyên viên phân tích dữ liệu Biên tập viên, nhà văn, sáng tạo nội dung Lập trình viên, kỹ sư phần mềm Kế toán/chuyên viên tài chính Thiết kế đồ họa, nghệ sĩ Thủ thư, cán bộ thông tin Nghề dành cho người trung hòa: Giáo viên, giảng viên Chuyên viên marketing/PR Quản lý dự án Chuyên viên tâm lý/tư vấn Phóng viên, nhà báo Nghề phù hợp với người hướng ngoại: Chuyên viên bán hàng/chăm sóc khách hàng Diễn viên, MC, influencer HR, quản lý nhân sự CEO / lãnh đạo tổ chức Chuyên viên tổ chức sự kiện Luật sư, chuyên gia tranh tụng Bạn là kiểu người nào – hướng nội, hướng ngoại hay trung hòa – không quyết định tất cả. Nhưng hiểu rõ bản thân sẽ giúp bạn chọn đúng lối đi, đúng môi trường, và đúng công việc để tỏa sáng theo cách riêng của mình. Vẫn chưa chắc bạn thuộc nhóm nào? Hãy thử bài trắc nghiệm tính cách ngay để khám phá thêm về chính bạn! 🎯 Sẵn sàng khám phá con đường sự nghiệp phù hợp? 👉 Truy cập ngay: Jobcadu Jobs – Khám phá cơ hội nghề nghiệp

    Jul 24, 2025
    5 min
    Thumbnail for Không thích giao tiếp xã hội? Đó không phải là điểm yếu! Khám phá 7 nghề nghiệp nơi người hướng nội tỏa sáng

    Không thích giao tiếp xã hội? Đó không phải là điểm yếu! Khám phá 7 nghề nghiệp nơi người hướng nội tỏa sáng

    Trong một thế giới ồn ào và chuyển động không ngừng, việc bạn không thích tụ tập đông người đôi khi bị hiểu nhầm là thiếu kỹ năng. Nhưng sự thật thì khác: đó có thể là một điểm mạnh thầm lặng – đặc biệt với những ai sở hữu tính cách hướng nội (Introvert). Introvert là ai? Người hướng nội là những cá nhân có xu hướng “nạp năng lượng” bằng cách ở một mình, thay vì tìm kiếm sự náo nhiệt. Họ thường có thế giới nội tâm phong phú, suy nghĩ sâu sắc, quan sát tinh tế và hành động sau khi đã cân nhắc kỹ. Đặc điểm nổi bật của người hướng nội: Thích làm việc độc lập hoặc theo nhóm nhỏ Tập trung cao khi làm những công việc đòi hỏi tư duy sâu Giao tiếp tốt trong môi trường thân quen Suy nghĩ sáng tạo và nhìn thấy những góc nhìn ít ai để ý Có kế hoạch rõ ràng và tính kỷ luật cao Những khó khăn phổ biến: Ngại nói trước đám đông, không thích trở thành tâm điểm Cảm thấy mệt mỏi sau các tương tác xã hội kéo dài Cần nhiều thời gian để thích nghi với thay đổi Thường bị hiểu nhầm là lạnh lùng hay xa cách 7 Nghề nghiệp người hướng nội làm rất tốt 1. Biên tập viên nội dung Viết lách yêu cầu sự tập trung và không gian yên tĩnh – điều mà người hướng nội rất trân trọng. Từ biên tập viên, copywriter đến người dựng video… tất cả đều là những nghề cần sự độc lập trong tư duy. Kết quả? Những sản phẩm sâu sắc và chất lượng cao. 2. Thiết kế đồ họa Không ít người hướng nội giỏi giao tiếp qua hình ảnh hơn là lời nói. Thiết kế đồ họa cho phép họ thể hiện ý tưởng qua hình ảnh, banner, minh họa – một công việc sáng tạo, tập trung và ít phải tương tác xã hội. 3. Chuyên viên phân tích dữ liệu Sàng lọc dữ liệu và rút ra insight đòi hỏi sự kiên nhẫn và đầu óc phân tích – những tố chất mà người hướng nội thường có thừa. Đây là công việc đòi hỏi đào sâu, phù hợp với những ai thích tìm hiểu logic phía sau con số. 4. Lập trình viên Code không cần nói chuyện nhiều. Họ làm việc độc lập, giải bài toán kỹ thuật, đòi hỏi sự tập trung và chính xác – tất cả đều là "địa bàn quen thuộc" của người hướng nội. 5. Kế toán / Chuyên viên tài chính Các vị trí trong ngành tài chính – kế toán cần tính tổ chức, chính xác và khả năng xử lý dữ liệu. Đây là những công việc ít bị quấy rầy, phù hợp với người thích không gian yên tĩnh. 6. Biên tập viên / Người hiệu đính Đây là “nghề của con mắt thứ ba” – nơi những chi tiết nhỏ quyết định chất lượng. Người hướng nội, với sự quan sát sắc bén và tỉ mỉ, thường làm rất tốt vai trò này. 7. Gia sư 1 kèm 1 / Dạy học online Dù là công việc giao tiếp, nhưng việc dạy 1-1 hoặc dạy online giúp người hướng nội làm chủ được mức độ tương tác. Họ có thể tập trung vào từng học sinh, giảng dạy theo phong cách riêng và mang lại giá trị cá nhân hóa. Checklist: Bạn có phải là người hướng nội? Mệt mỏi sau khi tham gia các sự kiện đông người Thích ở nhà hơn là đi tiệc Đề cao sự riêng tư Ghét “small talk” nhưng yêu các cuộc trò chuyện sâu sắc Suy nghĩ kỹ trước khi trả lời Làm việc hiệu quả nhất khi một mình Căng thẳng khi bị theo dõi hay đánh giá Là người lắng nghe tốt và được tin tưởng tâm sự Thích những khoảng lặng quý giá Thể hiện bản thân tốt hơn qua chữ viết hoặc nghệ thuật Lạc lối trong hành trình nghề nghiệp? Bạn chưa biết mình hợp với công việc nào? Muốn chuyển ngành nhưng loay hoay không biết bắt đầu từ đâu? Jobcadu Career Toolkit có thể giúp bạn. ✅ Khám phá những nghề nghiệp phù hợp với điểm mạnh của bạn ✅ Hiểu rõ ưu – nhược điểm cá nhân ✅ Tìm việc đúng chất, đúng người ✅ Xây lộ trình nghề nghiệp rõ ràng và có định hướng 👉 Làm bài test nhanh – chính xác – cá nhân hóa tại: Jobcadu Career Test – Miễn phí 100% Bạn không cần phải nói nhiều để được công nhận. Bạn chỉ cần chọn đúng nơi để tỏa sáng.

    Jul 23, 2025
    5 min
    Thumbnail for Resume สายวิศวะ ทำยังไงให้ดี HR ไม่ปัดตก

    Resume สายวิศวะ ทำยังไงให้ดี HR ไม่ปัดตก

    Resume วิศวกร ต้องเขียนยังไง (How to write a resume for an engineer?) มีใครเคยส่งเรซูเม่สายวิศวะ ทั้งหว่าน ทั้งสมัครทุก ๆ บริษัท แต่กลับไม่มีบริษัทไหนติดต่อกลับมาเพื่อเรียกสัมภาษณ์งานเลย หรือรู้สึกว่าเรซูเมตัวเองไม่ได้ดีพอ ที่จะพอดึงดูดความสนใจจาก HR นี่คือ Pain Point ที่วิศวกรจำนวนมากต้องเผชิญในตลาดแรงงานที่มีการแข่งขันสูง มาดูกันว่า Jobcadu จะมีเคล็ดลับอย่างไร ปัญหาหลัก ๆ ที่ทำให้เรซูเม่ไม่ถูกเลือก มักเกิดจากการนำเสนอข้อมูลที่ไม่น่าสนใจ ขาดการเน้นย้ำจุดแข็งที่สำคัญ หรือไม่สามารถสื่อสารคุณค่าที่จะมอบให้กับองค์กรได้อย่างชัดเจน โดยวิธีแก้ไขคือ ตั้งคำถามขึ้นมาก่อนว่า "เขียนเรซูเม่สายวิศวะต้องเขียนยังไง?" เป็นสิ่งสำคัญอันดับแรกที่ทุกคนควรหาคำตอบ เพราะเรซูเม่คือ "ประตูบานแรก" ที่จะเปิดโอกาสให้วิศวะทุกคนได้แสดงศักยภาพต่อ Hr ด้วยกระดาษแผ่นเดียว การมีเรซูเม่สายงานวิศวะที่ดีจะช่วย: ดึงดูดสายตา HR: ในกองเรซูเม่จำนวนมาก เรซูเม่จะโดดเด่นและเตะตา ทำให้ผู้คัดเลือกอยากอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม สื่อสารจุดแข็งและคุณสมบัติเด่น: คุณสามารถนำเสนอทักษะ ประสบการณ์ ความรู้ และความสำเร็จได้อย่างน่าประทับใจและชัดเจน เพิ่มโอกาสในการถูกเรียกสัมภาษณ์งาน: เมื่อ HR เห็นว่าคุณมีศักยภาพและคุณสมบัติที่ตรงกับความต้องการของตำแหน่งงานที่เปิดรับ โอกาสที่คุณจะได้รับเชิญไปสัมภาษณ์ก็จะสูงขึ้น ตัวอย่างการเขียน Experience สำหรับวิศวกร (What is an example of engineering experience?) ส่วน ประสบการณ์ทำงาน (Experience) คือหัวใจสำคัญของเรซูเม่สำหรับวิศวกรทุกคน เพราะเป็นส่วนที่แสดงให้เห็นถึงทักษะ ความสามารถ และผลลัพธ์ที่คุณได้สร้างสรรค์จากการทำงานจริง สิ่งสำคัญที่สุดคือการ เน้นผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรมและสามารถวัดผลได้ และควรใช้ ตัวเลขหรือเปอร์เซ็นต์ เพื่อบ่งชี้ถึงความสำเร็จของคุณอย่างชัดเจน หากคุณสงสัยว่า "อะไรคือตัวอย่างของประสบการณ์วิศวกรรมที่ควรใส่ในเรซูเม่?" พิจารณาตัวอย่างการเขียนที่น่าสนใจจาก EnhanceCV: "With over 10 years of experience as a civil engineer, I have a proven track record of successfully delivering complex infrastructure projects on time and within budget. My expertise includes project management, structural design, and construction supervision. I led a team of 5 engineers in the design and construction of a 20-story building, reducing material costs by 15% through innovative design solutions." จากตัวอย่างนี้ จะเห็นว่ามีการใช้ Action Verbs (คำกริยาที่แสดงการกระทำ) เช่น "led" และ "reducing" และมีการระบุ ผลลัพธ์ที่เป็นตัวเลข อย่างชัดเจน เช่น "reducing material costs by 15%" สิ่งเหล่านี้จะช่วยให้ผู้คัดเลือกเข้าใจถึงคุณค่าที่คุณสามารถมอบให้ได้ทันที สิ่งที่คุณควรทำเมื่อเขียนส่วน Experience: ใช้ Action Verbs ที่ทรงพลัง: เลือกใช้คำกริยาที่แสดงถึงการกระทำและความสำเร็จ เช่น Led, Developed, Managed, Implemented, Designed, Optimized, Streamlined, Analyzed, Innovated, Coordinated, Supervised เพื่อให้ประโยคมีความกระชับและสื่อความหมายได้ดี เน้นความสำเร็จที่เป็นตัวเลข (Quantify your achievements): อย่าเพียงแค่บอกว่าคุณทำอะไร แต่จงบอกว่าคุณทำได้ดีแค่ไหน และส่งผลอะไร ตัวอย่างเช่น แทนที่จะเขียนว่า "ออกแบบระบบไฟฟ้า" ให้เขียนว่า "ออกแบบระบบไฟฟ้าสำหรับโรงงานแห่งใหม่ ลดการใช้พลังงานลง 10%" หรือ "บริหารจัดการโครงการมูลค่า 5 ล้านบาท สำเร็จลุล่วงตามกำหนดเวลา" ปรับให้เข้ากับตำแหน่งที่สมัคร (Tailor your experience): อ่าน Job Description ของตำแหน่งที่คุณสมัครให้ละเอียด และเลือกประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องมากที่สุดมานำเสนอ หากมีทักษะหรือความสำเร็จที่ตรงกับความต้องการของบริษัทเป็นพิเศษ ให้เน้นย้ำในส่วนนั้น การเขียน Profile Summary สำหรับวิศวกร (What is a profile summary for an engineer?) Profile Summary หรือ สรุปโปรไฟล์ คือบทสรุปสั้น ๆ ที่อยู่ส่วนบนสุดของเรซูเม่เป็นเหมือน "ลิฟต์พิตช์" (Elevator Pitch) ที่จะทำให้ HR หรือผู้จัดการที่กำลังคัดเลือกผู้สมัคร เข้าใจภาพรวมของทักษะ ประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญของคุณได้อย่างรวดเร็วในเวลาอันจำกัด หากคุณกำลังสงสัยว่า "Profile Summary สำหรับวิศวกรคืออะไรและควรเขียนอย่างไร?" นี่คือคำตอบและตัวอย่างที่คุณควรรู้: ตัวอย่างการเขียน Profile Summary ที่ดีจาก TealHQ: "Highly motivated and detail-oriented Electrical Engineer with 5 years of experience in designing, developing, and testing electrical systems. Proven ability to optimize product performance, and ensure customer satisfaction through innovative solutions and strong problem-solving skills." หลักการสำคัญในการเขียน Profile Summary ที่มีประสิทธิภาพ: สั้น กระชับ และได้ใจความ: ควรมีความยาวประมาณ 3-5 บรรทัด หรือไม่เกิน 50-100 คำ เพื่อให้ผู้อ่านสามารถสแกนและจับใจความสำคัญได้ในเวลาอันสั้น เน้นทักษะหลัก ความเชี่ยวชาญ และความสำเร็จ: ระบุประเภทของวิศวกรที่คุณเป็น (เช่น วิศวกรไฟฟ้า, วิศวกรโยธา, วิศวกรเครื่องกล) ทักษะเด่นที่คุณมี และความสำเร็จที่สำคัญที่สุดที่บ่งบอกถึงคุณค่าของคุณ ใช้ Keyword ที่เกี่ยวข้อง: ใส่คำศัพท์สำคัญที่เกี่ยวข้องกับตำแหน่งงานที่คุณสนใจ หรือคำที่มักจะปรากฏใน Job Description ที่คุณกำลังสมัคร การใช้ Keyword ที่เหมาะสมจะช่วยให้ระบบคัดกรองเรซูเม่ (Applicant Tracking Systems - ATS) สามารถจับคู่เรซูเม่ของคุณกับตำแหน่งงานที่เกี่ยวข้องได้ง่ายขึ้น และเพิ่มโอกาสที่เรซูเม่ของคุณจะถูกพิจารณาโดยมนุษย์ การเขียน Career Objective ของวิศวกร (How to create a resume for a fresher engineer?) Career Objective หรือ วัตถุประสงค์ในอาชีพ คือการบอกเป้าหมายการทำงาน และสิ่งที่ต้องการจากตำแหน่งงานที่กำลังสมัคร ส่วนนี้เหมาะอย่างยิ่งสำหรับผู้ที่เพิ่งจบการศึกษาใหม่ที่ยังไม่มีประสบการณ์ทำงานมากนัก หรือผู้ที่ต้องการเปลี่ยนสายงาน/อุตสาหกรรม และต้องการชี้แจงเป้าหมายในอาชีพของตนเองให้ชัดเจน คำถามที่ว่า "จะสร้างเรซูเม่สำหรับวิศวกรจบใหม่ได้อย่างไร?" หรือ "ควรเขียน Career Objective อย่างไรในเรซูเม่วิศวกรจบใหม่?" เป็นสิ่งสำคัญมากสำหรับนักศึกษาจบใหม่ เนื่องจากส่วนนี้จะช่วยชดเชยการขาดประสบการณ์ทำงานโดยการเน้นย้ำถึงเป้าหมาย ความมุ่งมั่น และสิ่งที่คุณสามารถนำมาสู่บริษัทได้ โดยทั่วไป Career Objective จะมุ่งเน้นไปที่สิ่งที่ "คุณ" ต้องการ และสิ่งที่คุณหวังว่าจะได้รับจากการทำงานในตำแหน่งนั้น ๆ ตัวอย่างการเขียน Career Objective ทั่วไปสำหรับวิศวกร: "ต้องการใช้ความรู้และทักษะด้านวิศวกรรมโยธาในการพัฒนาโครงการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานที่มีคุณภาพและยั่งยืน พร้อมเรียนรู้และเติบโตไปพร้อมกับองค์กร" มาดูตัวอย่างเฉพาะสำหรับวิศวกรแต่ละสาขา: วิศวโยธา "มุ่งมั่นที่จะนำความรู้เชิงลึกและทักษะด้านวิศวกรรมโยธาไปใช้ในการออกแบบ วางแผน และควบคุมการก่อสร้างโครงการต่าง ๆ ให้สำเร็จลุล่วงตามเป้าหมาย โดยคำนึงถึงมาตรฐานความปลอดภัยสูงสุด คุณภาพของงาน และการบริหารงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานที่มั่นคงและยั่งยืนสำหรับชุมชน" วิศวเครื่องกล "ประสงค์ที่จะใช้ความเชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมเครื่องกลในการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ออกแบบระบบเครื่องจักรกลที่ซับซ้อน และเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม พร้อมสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ ๆ และปรับปรุงแก้ไขปัญหาทางเทคนิคเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาดและสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน" วิศวไฟฟ้า "ต้องการใช้ทักษะด้านวิศวกรรมไฟฟ้าในการออกแบบ ติดตั้ง บำรุงรักษา และแก้ไขปัญหาระบบไฟฟ้า ระบบพลังงาน และระบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานที่ราบรื่นขององค์กร และมีส่วนร่วมในการพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานทางเลือก หรือระบบควบคุมอัตโนมัติที่ทันสมัย" ตัวอย่าง เรซูเม่วิศวกร นี่คือโครงสร้างและเนื้อหาโดยละเอียดของเรซูเม่วิศวกรในรูปแบบข้อความ (Text) ที่คุณสามารถนำไปปรับใช้และกรอกข้อมูลของคุณเองได้: [ชื่อ-นามสกุล] [ตำแหน่งที่ต้องการ/สาขาวิชาชีพหลัก] [เบอร์โทรศัพท์] | [อีเมล] | [ลิงก์ LinkedIn Profile URL (สำคัญมาก!)] | [ลิงก์ Portfolio/Website URL (ถ้ามีผลงานที่น่าสนใจ)] [ที่อยู่ปัจจุบัน (ไม่จำเป็นต้องระบุละเอียดมาก อาจเป็นแค่เมืองและประเทศ)] Summary / Professional Profile [เขียนสรุปโปรไฟล์ของคุณที่นี่ เน้นทักษะหลัก ประสบการณ์ และเป้าหมายในอาชีพของคุณใน 3-5 บรรทัด พยายามใช้ Keyword ที่เกี่ยวข้องกับตำแหน่งงานที่คุณสนใจ] ตัวอย่าง: "วิศวกรไฟฟ้าที่มีประสบการณ์ 5 ปีในการออกแบบและพัฒนาระบบควบคุมอัตโนมัติสำหรับอุตสาหกรรมการผลิต ด้วยความสามารถในการแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อนและปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องจักรได้ถึง 15% กำลังมองหาตำแหน่งที่ท้าทายเพื่อนำความเชี่ยวชาญมาสร้างนวัตกรรมให้กับองค์กร" Experience [ตำแหน่งงานปัจจุบัน/ล่าสุด] | [ชื่อบริษัท] | [เมือง, ประเทศ] [เดือน ปี ที่เริ่ม] – [เดือน ปี ที่สิ้นสุด (หรือ Present ถ้ายังทำงานอยู่)] [Action Verb + ผลลัพธ์: ออกแบบและควบคุมการก่อสร้างอาคารสูง 20 ชั้น โดยลดต้นทุนวัสดุได้ 15% ผ่านการนำเทคนิคการออกแบบโครงสร้างใหม่มาใช้] [Action Verb + ผลลัพธ์: นำทีมวิศวกร 3 คน ในการพัฒนาและติดตั้งระบบไฟฟ้าสำหรับโรงงานผลิตแห่งใหม่ ช่วยลดระยะเวลาการติดตั้งลง 20%] [Action Verb + ผลลัพธ์: วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาระบบเครื่องจักรกลที่ซับซ้อน ส่งผลให้ลด Downtime ของการผลิตได้ 10% และเพิ่มกำลังการผลิต 5%] [ระบุความรับผิดชอบหลักและโครงการสำคัญที่คุณมีส่วนร่วม โดยเน้นที่ผลลัพธ์ที่สามารถวัดได้เสมอ] [ตำแหน่งงานก่อนหน้า (ถ้ามี)] | [ชื่อบริษัท] | [เมือง, ประเทศ] [เดือน ปี ที่เริ่ม] – [เดือน ปี ที่สิ้นสุด] [Action Verb + ผลลัพธ์: วิจัยและพัฒนาระบบควบคุมอุณหภูมิสำหรับห้องปฏิบัติการ ทำให้ประหยัดพลังงานได้ 8%] [Action Verb + ผลลัพธ์: จัดทำรายงานทางเทคนิคและนำเสนอผลการทดสอบต่อลูกค้า เพื่อให้มั่นใจว่าตรงตามข้อกำหนด] Education [ชื่อปริญญา (เช่น ปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์)] | [สาขาวิชา (เช่น วิศวกรรมโยธา, วิศวกรรมเครื่องกล, วิศวกรรมไฟฟ้า)] [ชื่อมหาวิทยาลัย] | [เมือง, ประเทศ] [ปีที่จบการศึกษา] [เกรดเฉลี่ย (GPA) ถ้าสูงและน่าสนใจ (เช่น 3.50/4.00)] [ชื่อโปรเจกต์จบ/วิทยานิพนธ์ (ถ้าเกี่ยวข้องกับตำแหน่งงานหรือน่าสนใจ)] [รางวัลทางวิชาการ หรือทุนการศึกษาที่ได้รับ (ถ้ามี)] Skills Technical Skills (ทักษะทางเทคนิค): [ระบุทักษะเฉพาะทางที่เกี่ยวข้องกับสาขาของคุณ เช่น:] Software: AutoCAD, SolidWorks, MATLAB, Python, C++, LabVIEW, PLC Programming (Siemens, Allen-Bradley), ETAP, SAP, Microsoft Project, Revit, Staad.Pro Analysis & Design: Structural Analysis, Circuit Design, Thermodynamics, Fluid Dynamics, Finite Element Analysis (FEA), Process Control, Power Systems Analysis Equipment & Tools: Oscilloscopes, Multimeters, CNC Machines, 3D Printers, Robotics, Sensor Integration Industry Standards: ISO 9001, Six Sigma, Lean Manufacturing, OSHA Regulations, Building Codes Soft Skills (ทักษะด้านอารมณ์และสังคม): [ระบุทักษะที่นายจ้างมองหา เช่น:] Problem-solving, Critical Thinking, Teamwork, Communication (written & verbal), Leadership, Adaptability, Time Management, Project Management, Presentation Skills, Data Analysis Languages: [ภาษาที่คุณสามารถสื่อสารได้ และระดับความสามารถ เช่น ไทย (Native), อังกฤษ (Fluent), จีน (Basic)] Awards & Recognition (ถ้ามี) [รายการรางวัลที่ได้รับ เช่น รางวัลนักศึกษาดีเด่น, รางวัลนวัตกรรมยอดเยี่ยม, พนักงานดีเด่นประจำปี Certifications (ถ้ามี) [รายการใบรับรองวิชาชีพ หรือหลักสูตรที่ผ่านการอบรม ซึ่งเกี่ยวข้องกับงาน เช่น PMP, FE/PE Exam, Six Sigma Green Belt, AutoCAD Certified User] Projects (ถ้ามี) [ชื่อโปรเจกต์: (ปีที่ทำ) อธิบายสั้นๆ เกี่ยวกับโปรเจกต์ บทบาทของคุณ และผลลัพธ์ที่สำคัญ] ตัวอย่าง: Smart Home Automation System: (2023) Designed and prototyped an Arduino-based smart home system, reducing energy consumption by 10% through optimized lighting and climate control. จะเห็นได้ว่าการเขียน เรซูเม่วิศวกร ให้โดดเด่นและน่าสนใจนั้นไม่ใช่เรื่องที่ยากเกินไป หากเข้าใจหลักการสำคัญและให้ความสำคัญกับการนำเสนอข้อมูล เน้นที่ความสำเร็จที่เป็นรูปธรรม และปรับแต่งเนื้อหาให้เข้ากับตำแหน่งงานที่คุณสนใจอย่างสม่ำเสมอ สิ่งเหล่านี้จะช่วยเพิ่มโอกาสในการได้งานที่คุณต้องการได้มากยิ่งขึ้น ไม่ว่าคุณจะเป็นวิศวกรที่มีประสบการณ์หรือเป็น วิศวกรจบใหม่ (fresher engineer) ที่กำลังหางานวิศวะ ยิ่งไปกว่านั้น ในยุคปัจจุบัน การใช้ AI Tools อย่าง Jobcadu Resume Builder ยังเป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่ทรงพลังและน่าสนใจอย่างยิ่ง ที่จะช่วยให้คุณสามารถสร้างเรซูเม่ที่ดูเป็นมืออาชีพ โดดเด่น และตรงตามความต้องการของระบบคัดกรอง (ATS) ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพสูงสุด การใช้เครื่องมือเหล่านี้ ไม่เพียงแต่ช่วยประหยัดเวลา แต่ยังแสดงให้เห็นถึงความเข้าใจในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและการปรับตัวเข้ากับโลกยุคดิจิทัล ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่นายจ้างมองหาในตัววิศวกรอีกด้วย

    Jul 18, 2025
    5 min
    Thumbnail for What Is a Bonus? A Deep Dive Into Everything You Need to Know + Tips to Boost Your Chances of Earning a Big Bonus!

    What Is a Bonus? A Deep Dive Into Everything You Need to Know + Tips to Boost Your Chances of Earning a Big Bonus!

    As the end of the year or the New Year approaches, "bonuses" are something employees eagerly look forward to. But how can we improve our chances of receiving a big bonus? Jobcadu is here to break down everything you need to know about bonuses. Let’s dive in! What is a Bonus? A bonus is a special payment given by an employer to employees in addition to their regular salary. It is a reward for contributions that have helped the company grow or a form of incentive to encourage employee motivation. Are Bonuses Mandatory? Legally, bonuses are not mandatory like a monthly salary. They are considered a benefit that depends on each company’s policy. However, for employees, bonuses play a significant role in many ways, such as: Boosting morale: Shows appreciation and rewards dedication. Increasing income: Helps with financial liquidity. Enhancing work performance: Acts as a motivator to perform better so the company achieves strong results. Attracting and retaining talent: Companies with attractive bonus policies are better at attracting skilled professionals and keeping current employees long-term. Types of Bonuses Annual Bonus: Paid at the end of the year, based on company performance. Performance Bonus: Based on KPIs or individual performance. Contractual Bonus: Clearly stated in the employment contract, e.g., “1-month salary bonus.” Special Bonus: For big projects or awards such as “Employee of the Year.” How Are Bonuses Calculated? 1. Based on a percentage of salary, such as: 2x monthly salary For example, a 30,000 THB salary = 60,000 THB bonus 2. Based on performance rating, for example: 5/5 rating = 200% of monthly salary 3/5 = 100% 1/5 = no bonus Large companies often use a mixed model that considers both company and individual performance. What Criteria Determine Whether a Bonus Is Paid? Each company has different evaluation criteria, but common key factors include: Company Performance: The most critical factor. If the company meets or exceeds profit/revenue targets, the chances of receiving a bonus increase. If the company faces losses, bonuses may be reduced or not paid at all. Individual Performance: KPIs (Key Performance Indicators): If you meet or exceed your personal performance targets, you're more likely to receive a bonus. Manager's Evaluation: Supervisors assess responsibilities, teamwork, and other attributes as part of the review process. Length of Service: Employees who have completed the required service period (e.g., full 1 year) are typically eligible for full bonuses. Those who joined mid-year may receive a prorated bonus. When Are Bonuses Paid? Bonus payment schedules vary depending on the company’s policy and performance review cycle: End of the Year (Dec – Jan): The most common period, especially for companies closing annual accounts and conducting year-end evaluations. Mid-Year (Jun – Jul): Some companies issue mid-year bonuses as motivation or based on first-half results. Quarterly Bonus: Certain industries or roles offer quarterly bonuses to keep performance consistent. Project Bonus: Some roles/industries provide bonuses upon the successful completion of a key project. Bonus structures depend on many factors and may change yearly, so it’s important to stay updated through reliable sources or consult professionals in your field. Bonuses are a powerful motivator, but what’s more important is developing your value to the organization. Understanding how bonuses work and how they're calculated can help you plan your work and professional development more effectively. If you’re currently looking for a job with great benefits  including competitive bonuses , explore high-quality opportunities with top companies at Jobcadu, where we also provide weekly career guidance and skill development updates to keep you ahead.

    Jul 15, 2025
    5 min
    Thumbnail for 25 Legitimate Reasons to Take Leave — And Why They’re Acceptable

    25 Legitimate Reasons to Take Leave — And Why They’re Acceptable

    Taking leave is a fundamental right for employees. However, finding a valid, well-explained reason can sometimes be stressful. You might wonder, “Is it okay to take leave for this?” Today, Jobcadu has compiled 25 practical reasons for taking leave, complete with clear explanations you can use when submitting a leave request. Types of Leave: Know Your Rights Sick Leave: For physical or mental health conditions Personal Leave: For essential personal matters that can’t be done outside of work hours Annual Leave/Vacation: For yearly rest and rejuvenation Maternity/Paternity Leave: For childbirth and childcare (for both mothers and fathers) Religious Leave: For ordination or pilgrimages like Hajj, depending on religious practice Military Service Leave: For military conscription, depending on company policy Training/Seminar Leave: For skill development or professional training 25 Acceptable Reasons for Taking Leave — With Explanations Sick Leave: A basic legal right. Used when you're unwell and unfit to work. A doctor’s note is required if absent for more than 3 days. Doctor Appointment / Health Check-Up: Even if you're not seriously ill, routine checkups or minor health concerns are valid. Can use sick or personal leave. Annual Leave (Vacation): Granted based on company policy or after completing one year of work. For physical and mental recharge. Funeral of Close Family Members: For parents, grandparents, or close relatives. Most companies allow leave to attend. Your Own Wedding: Many companies offer wedding leave to plan or register the marriage. Marriage/Divorce Registration: Considered significant personal matters. Personal leave can be used. Child or Family Member Is Sick and Needs Hospital Visit: Can take personal leave if you're the only available caregiver. Entrance Exams / Civil Service Exams: Commonly accepted and encouraged for personal growth. Travel to Care for Elderly Parents in Another Province: Supported by companies promoting work-life balance, especially in hybrid work environments. Important Personal Errands: Such as banking or government-related paperwork, usually only possible on weekdays. Voting / Returning to Hometown to Vote: Protected civic right. Regulated and accepted by most workplaces. Religious Observances: Such as Buddhist Lent, temple visits, or making merit—valid if based on personal faith. Child’s Event: Graduation, school competitions, or important milestones—many companies understand these family priorities. Maternity/Paternity Leave: A legal right for both mothers and fathers after childbirth. Moving House: Relocation or shifting residence is understandable. Usually 1–2 days of personal leave is accepted. Accident / Traffic Emergency: Can use sick leave depending on severity, or take leave for follow-up checkups. Urgent Trip to Another Province (e.g. family emergency / disaster): Considered a necessary absence. Attending Close Friend or Family’s Wedding/Ordination: Social and familial responsibilities that justify time off. Mental Health Concerns / Stress / Burnout: Increasingly recognized by modern employers. Valid for sick leave under mental health concerns. Short Courses / Workshops / Skill Development: Personal leave can be used if it helps improve work-related skills. Government Paperwork: Renewing ID cards or passports—must be done on weekdays during work hours. Legal Appointments: Such as court hearings or legal investigations—valid and protected reasons for leave. Ordination Leave: For men undergoing Buddhist monkhood. Leave period varies depending on the duration of ordination. Military Service / Conscription: Civic duty. Companies are required to allow time off for this. Natural Disasters or Local Emergencies: Such as earthquakes, floods, or stormsม temporary necessary leave is acceptable. No matter the reason, always notify your supervisor and relevant parties in advance according to company policy. This ensures smooth workflow and reflects your professionalism. Taking leave is not wrong as long as the reason is clear and the process is followed correctly. All the reasons above are acceptable and, in many cases, protected under labor laws. If you're looking for more articles on Work-Life Balance, explore Jobcadu, where we guide your career journey and help you grow your skills updated weekly with fresh, helpful content. Let me know if you’d like a downloadable version or infographic for this!

    Jul 15, 2025
    5 min
    Thumbnail for Teamwork: The Heart of Success in the Modern Workplace

    Teamwork: The Heart of Success in the Modern Workplace

    In today’s working world, “Teamwork” has become one of the most sought-after soft skills across organizations. Effective collaboration not only helps achieve goals faster but also promotes growth for both the organization and its employees. At Jobcadu, we’ll help you understand what teamwork truly means and why it's crucial in any modern workplace. What Is Teamwork? Teamwork is the act of working collaboratively with two or more people toward a common goal. Each team member contributes their unique knowledge, skills, and experience to complement one another, ensuring that the task is completed effectively and efficiently. Why Is Teamwork Important to Organizations? Boosts work efficiency: Dividing tasks according to individual strengths and supporting one another helps speed up the process and reduce errors. Encourages diverse perspectives: When people from different backgrounds come together to share ideas, it brings fresh viewpoints and enhances creativity. Solves problems faster and more effectively: Brainstorming as a group helps identify problems from multiple angles and leads to better solutions. Builds morale and motivation: Being part of a supportive team increases happiness and reduces stress, creating a more enjoyable work environment. Develops individual skills: Working in a team opens opportunities to learn new soft and hard skills from others. What Does a Good Team Look Like? Clear goals: Everyone understands and is aligned with the team’s objectives. Effective communication: Open, consistent communication is encouraged and valued. Trust and mutual respect: Team members have confidence in each other’s abilities and intentions. Support and collaboration: Members are ready to help each other and no one is left to struggle alone. Shared accountability: The entire team takes responsibility—whether the outcome is successful or not. Strong leadership: A good leader provides direction, inspires the team, and keeps everyone aligned. Benefits of Strong Teamwork For Employees Knowledge and skill growth: Learn from teammates with different experiences and expertise. Improved communication and social skills: Practice working with others who may have differing viewpoints. Increased self-confidence: Seeing the results of successful teamwork brings pride and a sense of value. Reduced stress and pressure: Sharing responsibilities and having others to consult helps manage stress better. For Organizations Higher productivity: Achieve more in less time with better quality results. Foster innovation: Idea-sharing often leads to new products or services. Solve complex problems: Difficult challenges become easier to tackle with team input. Lower turnover rates: Happy, less-stressed employees feel more connected to the organization and are less likely to leave. Building strong teamwork isn't easy, but it's something that every organization and employee should prioritize. It’s the foundation of long-term success. If you’re looking for a company that values teamwork and supports your growth within a collaborative environment, explore high-quality job opportunities from leading companies with strong team cultures at Jobcadu.

    Jul 15, 2025
    5 min
    Thumbnail for ลางานอย่างไรไม่เสียสิทธิ์ ไขข้อข้องใจให้ทุกคนเข้าใจถูกต้องเกี่ยวกับ ‘การลางาน’ ตามกฎหมายแรงงานไทย

    ลางานอย่างไรไม่เสียสิทธิ์ ไขข้อข้องใจให้ทุกคนเข้าใจถูกต้องเกี่ยวกับ ‘การลางาน’ ตามกฎหมายแรงงานไทย

    ในชีวิตการทำงาน ‘การลางาน’ อาจจะดูเป็นเรื่องเล็กน้อย แค่เขียนอีเมลส่งล่วงหน้าตามจำนวนวันที่ทางบริษัทกำหนดและไม่เกินขอบเขตโควต้าของวันลาก็น่าจะไม่มีปัญหาอะไร แต่จริงๆแล้วพนักงานทุกคนควรให้ความสำคัญกับ ‘สิทธิการลา’ ให้ครบถ้วนและถูกต้อง เพื่อสิทธิประโยชน์สูงสุดที่เราควรได้รับ ซึ่งวันนี้ Jobcadu จะพาไปดูว่าการลางานคืออะไร มีกี่ประเภทตามกฎหมายไทย ข้อดี-ข้อเสียคืออะไร พร้อมเทมเพลตสำหรับใช้ยื่นลาทั้งภาษาไทยและอังกฤษ ที่ทุกคนสามารถนำไปใช้ได้จริง ลางานคืออะไร ลางาน คือการที่พนักงานงดทำงานตามช่วงเวลาที่แจ้งไว้ล่วงหน้า หรือกรณีกระทันหัน ซึ่งครอบคลุมทั้งกรณีที่รับค่าจ้างและไม่รับค่าจ้าง เช่น ลาป่วย ลาพักร้อน ลากิจ ลาคลอด เป็นต้น จุดประสงค์คือเพื่อให้พนักงานดูแลสุขภาพ ครอบครัว หรือภาระส่วนตัวอื่นๆได้ โดยในสถานประกอบการจะมี “ใบลางาน” เป็นเอกสารยืนยันการแจ้งลาและเก็บไว้เป็นหลักฐาน ลางานมีกี่ประเภทตามกฎหมาย สิทธิการลา ประกอบด้วยลาป่วย ลากิจ ลาพักร้อน และลาคลอด โดยสิทธิพื้นฐานที่กฎหมายกำหนด ได้แก่ ลาป่วยได้สูงสุด 30 วันต่อปีโดยได้รับค่าจ้าง ลากิจไม่ต่ำกว่า 3 วันต่อปี ลาพักร้อนอย่างน้อย 6 วันต่อปีสำหรับผู้ที่ทำงานครบ 1 ปี และลาคลอดบุตรสูงสุด 98 วันโดยได้รับค่าจ้าง 45 วันแรก ซึ่งสิทธิเหล่านี้มีขึ้นเพื่อคุ้มครองคุณภาพชีวิตของพนักงานให้สามารถบาล้านซ์ชีวิตส่วนตัวและการทำงานได้อย่างยั่งยืน ข้อดีและข้อเสียของการลางาน ข้อดีของการลางาน ช่วยฟื้นฟูสุขภาพกายและใจ ลดอาการเหนื่อยล้า จัดการธุระสำคัญได้เต็มที่ เช่น ราชการ ครอบครัว ช่วยสร้างสมดุลชีวิตและงาน เพิ่มประสิทธิภาพเมื่อกลับไปทำงาน ใช้สิทธิ์ตามกฎหมาย ไม่ถูกหักเงินเมื่อปฏิบัติตามข้อบังคับ ลดความเสี่ยงพนักงานไม่ให้ป่วยเรื้อรัง เพราะมีวันพักผ่อนให้ใช้อย่างเหมาะสม ข้อเสียของการลางาน หากลาบ่อยโดยไม่วางแผน อาจเสียภาพลักษณ์ในสายตาผู้บริหาร อาจทำให้โปรเจกต์สะดุดหากไม่มีผู้รับช่วงงาน ใช้สิทธิ์หมดเร็วอาจไม่มีวันลาเหลือในยามจำเป็นฉุกเฉิน บริษัทอาจพิจารณาคะแนนประเมินผลงานหรือโบนัสหากลาเกินโควต้า ทีมอาจวางแผนไม่ทัน หากพนักงานหลายคนลาพร้อมกัน เทมเพลตอีเมลขอลางาน (ภาษาไทย–อังกฤษ) ภาษาไทย เรื่อง ขออนุญาตลางาน เรียน คุณ/หัวหน้า…………………………………… ข้าพเจ้า………………………… ตำแหน่ง………………………… ขออนุญาตลางานเนื่องจาก __________________________ (ระบุอาการ/เหตุผล เช่น ไข้สูง, ปวดหัว, ธุระด่วน) ระหว่างวันที่ _______ ถึง _______ รวมจำนวน _______ วันทำงาน ข้าพเจ้าได้มอบหมายงานให้คุณ/คุณ X เรียบร้อยแล้ว จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุญาต ลงชื่อ __________ วันที่ ____/____/____ ภาษาอังกฤษ Subject: Leave Request (Sick/Personal/Annual Leave) Dear [Manager’s Name], I would like to request [sick/personal/annual] leave due to ________________________ (Example: high fever, family emergency) The leave will be from [Start Date] to [End Date], totaling [number] working days. I have arranged for [Colleague’s Name] to cover my duties during my absence. Thank you for your understanding. Best regards, [Your Name] [Position] [Date] การลางานไม่ใช่แค่การหยุดพัก แต่มันคือสิทธิ์และการแสดงความรับผิดชอบอย่างหนึ่งในการทำงาน ควรให้ความสำคัญกับการวางแผนล่วงหน้า สื่อสารให้ชัดเจน และใช้สิทธิ์อย่างรับผิดชอบเพื่อให้แฮปปี้กันทุกฝ่าย และถ้าหากใครกำลังมองหาโอกาสงานใหม่ หรืออยากพัฒนาทักษะให้พร้อมรับทุกโอกาส ลองมาที่ Jobcadu แหล่งรวบรวมงานที่ใช่ และบทความเสริมทักษะช่วยทุกคนพัฒนาสกิล แต่สำหรับใครที่ไม่รู้จะใช้เหตุผลอะไรในการลา>> มาดู 25 เหตุผลในการใช้ลา ใช้ลางานได้เลย

    Jul 14, 2025
    5 min
    Thumbnail for   รวม 25 เหตุผลการลา พร้อมเหตุผลว่าทำไมถึงใช้ลาได้

    รวม 25 เหตุผลการลา พร้อมเหตุผลว่าทำไมถึงใช้ลาได้

    การลาเป็นสิทธิพื้นฐานของพนักงาน แต่บางครั้งการหาสาเหตุที่เมคเซนส์และมีรายละเอียดที่ชัดเจนก็อาจทำให้หลายคนคิดหนักเเละอาจคิดว่า “ลางานแบบนี้จะโอเคมั้ย?” วันนี้ Jobcadu รวม 25 เหตุผลที่ใช้ ลางานได้จริง พร้อมคำอธิบายแบบเข้าใจง่าย ใช้ยื่นลางานได้เลย ประเภทการลา: สิทธิ์ทีควรรู้ ลาป่วย: สำหรับการเจ็บป่วยทั้งกายและใจ ลากิจ: สำหรับธุระส่วนตัวที่จำเป็นและไม่สามารถทำนอกเวลางานได้ ลาพักร้อน/ลาหยุดพักผ่อนประจำปี: สำหรับการพักผ่อนประจำปี ลาเพื่อคลอดบุตร/ลาดูแลบุตร: สำหรับพนักงานหญิงที่ตั้งครรภ์และพนักงานชายเพื่อใช้ในการดูแลบุตร ลาอุปสมบท/ประกอบพิธีฮัจญ์: สำหรับการปฏิบัติศาสนกิจที่แล้วแต่ศาสนาที่นับถือ ลาเพื่อรับราชการทหาร: สำหรับการเกณฑ์ทหาร ซึ่งแล้วแต่นโยบายของบริษัท ลาเพื่ออบรม/สัมมนา: สำหรับการพัฒนาความรู้และทักษะ รวม 25 เหตุผลการลา พร้อมเหตุผลว่าทำไมถึงใช้ลาได้ ลาป่วย: เป็นสิทธิพื้นฐานตามกฎหมายแรงงาน ใช้เมื่อมีอาการเจ็บป่วย ไม่พร้อมทำงาน สามารถแนบใบรับรองแพทย์ (ถ้าลาเกิน 3 วัน) ไปหาหมอ / ตรวจสุขภาพ: แม้จะยังไม่ป่วยหนัก แต่การตรวจร่างกายประจำปีหรือดูแลสุขภาพก็สำคัญ ใช้ลาป่วยหรือลากิจได้ ลาพักร้อน (ลาพักผ่อนประจำปี): สิทธิที่ได้รับจากการทำงานครบปี หรือตามนโยบายบริษัท เพื่อฟื้นฟูร่างกายและจิตใจ งานศพญาติใกล้ชิด: เช่น พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย บริษัทส่วนใหญ่อนุญาตให้ลางานเพื่อไปร่วมพิธี งานแต่งงานของตนเอง: หลายบริษัทมีนโยบายให้วันลาเพื่อใช้จัดงานหรือจดทะเบียนสมรส ไปจดทะเบียนสมรส / หย่า: ถือเป็นภารกิจส่วนตัวที่สำคัญ ใช้ลากิจได้ ลูก/คนในครอบครัวไม่สบาย ต้องพาไปโรงพยาบาล: ลากิจได้ในกรณีที่ไม่มีคนอื่นดูแลแทน สอบเรียนต่อ / สอบราชการ: เป็นเหตุผลที่หลายบริษัทเข้าใจและสนับสนุนการพัฒนาตัวเอง ไปดูแลพ่อแม่หรือผู้สูงอายุที่บ้านต่างจังหวัด: บริษัทที่สนับสนุน work-life balance เเละมีโครงสร้างการทำงานเเบบ Hybrid มักจะเข้าใจเหตุผลนี้ มีธุระส่วนตัว เช่น ทำธุรกรรมทางการเงินสำคัญ: ธนาคาร/ราชการมักเปิดทำการวันธรรมดา จึงสามารถลางานเพื่อไปจัดการได้ เดินทางกลับภูมิลำเนาเพื่อเลือกตั้ง: ถือเป็นสิทธิพลเมือง มีระเบียบรับรองการลาในวันเลือกตั้ง วันพระใหญ่/ถือศีล/กิจกรรมทางศาสนา: เช่น เข้าพรรษา ออกพรรษา ลาเพื่อไปวัด ทำบุญ ฯลฯ ตามศาสนาที่ตนเองนับถือ กิจกรรมลูก เช่น รับปริญญา, แข่งกีฬา, งานโรงเรียน: หลายบริษัทมักเข้าใจการลานี้ โดยเฉพาะเมื่อลูกมีช่วงเวลาสำคัญ ลาคลอด / ลาเลี้ยงดูบุตร: สิทธิตามกฎหมายแรงงาน สำหรับคุณแม่/คุณพ่อหลังมีบุตร ต้องย้ายที่อยู่ / ย้ายบ้าน: เหตุผลเรื่องบ้านเรือนถือว่าเข้าใจได้ ลากิจได้ 1-2 วันตามเหมาะสม เกิดอุบัติเหตุ / รถชน / มีเหตุฉุกเฉินทางจราจร: ใช้ลาป่วยได้ ขึ้นอยู่กับความรุนแรง รวมถึงลาเพื่อตรวจเช็กสุขภาพหลังเกิดอุบัติเหตุ ไปต่างจังหวัดแบบฉุกเฉิน (เช่น เหตุครอบครัว / ภัยพิบัติ): บริษัทควรพิจารณาให้ลา เพราะถือเป็นเหตุจำเป็น ไปงานแต่งงาน / งานบวชของคนสนิท: เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับครอบครัวหรือเพื่อนสนิท สามารถลาได้ สุขภาพจิตไม่พร้อม / ภาวะเครียด / Burnout: แนวโน้มบริษัทสมัยใหม่เปิดใจยอมรับเรื่อง mental health มากขึ้น ก็สามารถนำมาใช้ลาป่วยได้ ไปเรียนคอร์สสั้น ๆ / สมนา / อบรมพัฒนาทักษะ: ลากิจเพื่อพัฒนาทักษะที่เกี่ยวข้องกับงาน ยื่นเอกสารราชการ เช่น ทำบัตรประชาชน/พาสปอร์ต: จำเป็นต้องทำในวันราชการ ซึ่งมักตรงกับเวลางาน มีนัดกับหน่วยงานราชการ เช่น ขึ้นศาล / นัดสอบสวน: เป็นเหตุผลที่ชอบด้วยกฎหมาย ลาบวช: สำหรับผู้ชายโดยลาได้หลายวันหรือตามระยะเวลาบวช ลาฝึกทหาร / เรียกพล: เป็นสิทธิหน้าที่พลเมือง บริษัทต้องอนุญาตให้ลาได้ ภัยพิบัติหรือเหตุฉุกเฉินในพื้นที่พักอาศัย เช่น เเผ่นดินไหว น้ำท่วม พายุเข้า: ใช้เหตุจำเป็นชั่วคราวในการลาได้ ไม่ว่าจะเป็นการลาด้วยเหตุผลใด ควรแจ้งหัวหน้างานและผู้ที่เกี่ยวข้องล่วงหน้าตามระเบียบของบริษัทเสมอ เพื่อให้การจัดการงานไม่สะดุด และแสดงถึงความเป็นมืออาชีพของคุณ การลา ไม่ใช่เรื่องผิด ถ้ามีเหตุผลชัดเจน และแจ้งให้ถูกต้องตามขั้นตอน ทุกเหตุผลข้างต้นนี้สามารถใช้ในการยื่นลาได้อย่างเหมาะสม และบางกรณียังได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายอีกด้วย หากกำลังมองหาบทความเกี่ยวกับ Work-Life Balance สามารถเข้ามาศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ Jobcadu เเนะนำเส้นทางอาชีพเเละพัฒนาทักษะ อัปเดตเเบบจัดเต็มทุกสัปดาห์

    Jul 14, 2025
    5 min
    Thumbnail for ทีมเวิร์ค หัวใจสำคัญของความสำเร็จในองค์กรยุคใหม่ 

    ทีมเวิร์ค หัวใจสำคัญของความสำเร็จในองค์กรยุคใหม่ 

    ในโลกของการทำงานปัจจุบัน "ทีมเวิร์ค" (Teamwork) กลายเป็นหนึ่งใน Soft Skills ที่ทุกองค์กรมองหา เพราะการทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่เพียงแต่ช่วยให้บรรลุเป้าหมายได้เร็วขึ้น แต่ยังส่งเสริมการเติบโตของทั้งองค์กรและพนักงาน เรา Jobcadu จะพาไปหาคำตอบว่าคำว่าทีมเวิร์คคืออะไรเเละทำไมถึงสำคัญกับการทำงานในองค์กร ทีมเวิร์คคืออะไร? ทีมเวิร์ค คือ การทำงานร่วมกันของคนตั้งแต่สองคนขึ้นไป เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายเดียวกัน โดยแต่ละคนจะใช้ความรู้ ความสามารถ ทักษะ และประสบการณ์ที่แตกต่างกัน มาเติมเต็มซึ่งกันและกัน เพื่อให้งานสำเร็จลุล่วงตามเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำไมทีมเวิร์คถึงสำคัญต่อองค์กร? เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน: การแบ่งงานตามความถนัดและการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ทำให้งานเดินได้เร็วขึ้น เเละลดข้อผิดพลาดของชิ้นงาน มีมุมมองมากขึ้น: เมื่อผู้คนหลากหลายมารวมตัวกัน แลกเปลี่ยนความคิดเห็น จะเกิดมุมมองใหม่ๆ นำทำให้การทำงานมีหลากหลายมิติ มีมุมมองและความสร้างสรรค์ในการทำงานมากขึ้น แก้ปัญหาได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ: การระดมสมองจากหลายๆ คน ช่วยให้มองเห็นปัญหาได้รอบด้าน และหาวิธีแก้ไขได้ดีกว่าการคิดคนเดียว สร้างขวัญและกำลังใจที่ดี: การได้ทำงานร่วมกับผู้อื่น ได้รับการสนับสนุน และรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของทีมที่ดี จะช่วยให้พนักงานมีความสุขในการทำงาน ลดความเครียด พัฒนาทักษะส่วนบุคคล: การทำงานเป็นทีมเปิดโอกาสให้ได้เรียนรู้ทักษะใหม่ๆ ทั้ง Soft Skills และ Hard Skills จากเพื่อนร่วมงาน ทีมที่มีทีมเวิร์คที่ดีเป็นอย่างไร? เป้าหมายชัดเจน: ทุกคนในทีมเข้าใจและมุ่งสู่เป้าหมายเดียวกันอย่างชัดเจน การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ: เปิดใจรับฟังและสื่อสารกันอย่างสม่ำเสมอ ความไว้วางใจและความเคารพซึ่งกันและกัน: สมาชิกในทีมเชื่อใจในความสามารถและเจตนาที่ดีของกันและกัน การสนับสนุนและช่วยเหลือกัน: พร้อมที่จะยื่นมือเข้าช่วยเมื่อเพื่อนร่วมทีมประสบปัญหา ไม่ปล่อยให้ใครทำงานหนักอยู่คนเดียว การรับผิดชอบร่วมกัน: ไม่ว่าผลลัพธ์จะออกมาดีหรือไม่ดี ทุกคนในทีมพร้อมรับผิดชอบร่วมกัน มีภาวะผู้นำที่ดี: ผู้นำที่สามารถชี้นำ สร้างแรงบันดาลใจ และบริหารจัดการทีมให้ไปในทิศทางเดียวกัน ประโยชน์ของทีมเวิร์คที่ดี ประโยชน์ต่อตัวพนักงาน เพิ่มพูนความรู้และทักษะ: ได้เรียนรู้จากเพื่อนร่วมงานที่มีประสบการณ์หลากหลาย พัฒนาทักษะการสื่อสารและมนุษยสัมพันธ์: ได้ฝึกฝนการทำงานร่วมกับผู้อื่นที่มีความคิดเห็นแตกต่าง สร้างความมั่นใจในตนเอง: เมื่อเห็นผลงานที่เกิดจากการร่วมมือกัน ทำให้รู้สึกภูมิใจและมีคุณค่า ลดความเครียดและแรงกดดัน: การได้แบ่งเบาภาระและปรึกษาหารือกับทีม ช่วยให้จัดการความเครียดได้ดีขึ้น ประโยชน์ต่อองค์กร เพิ่มประสิทธิภาพ: ทำงานได้มากขึ้นในเวลาที่น้อยลง และได้ผลลัพธ์ที่ดีกว่า สร้างนวัตกรรมใหม่ๆ: การแลกเปลี่ยนความคิดนำไปสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือบริการใหม่ๆ แก้ปัญหาที่ซับซ้อนได้: ปัญหาที่ยากลำบากสามารถแก้ไขได้ง่ายขึ้นด้วยการระดมสมอง ลดอัตราการลาออกของพนักงาน: พนักงานมีความสุข เครียดน้อยลงและผูกพันกับองค์กรมากขึ้น การสร้างทีมเวิร์คที่ดีไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ก็เป็นสิ่งที่ทุกองค์กรและพนักงานควรให้ความสำคัญ เพราะมันคือรากฐานสำคัญที่นำไปสู่ความสำเร็จในองค์กร หากใครกำลังมองหางานในองค์กรที่ให้ความสำคัญกับทีมเวิร์คและพร้อมให้คุณเติบโตไปพร้อมกับทีม ลองเข้ามาค้นหางานคุณภาพจากหลากหลายบริษัทชั้นนำที่มีทีมเวิร์คที่ดีได้ที่ Jobcadu เลย

    Jul 14, 2025
    5 min
    Thumbnail for เงินโบนัส คืออะไร? เจาะลึกทุกเรื่องที่เราควรรู้ พร้อมเคล็ดลับเพิ่มโอกาสในรับโบนัสก้อนโต!

    เงินโบนัส คืออะไร? เจาะลึกทุกเรื่องที่เราควรรู้ พร้อมเคล็ดลับเพิ่มโอกาสในรับโบนัสก้อนโต!

    ช่วงปลายปีหรือต้นปีใหม่ทีไร "โบนัส" มักจะเป็นสิ่งที่พนักงานทุกคนเฝ้ารอคอย แล้วเราจะมีส่วนร่วมในการเพิ่มโอกาสให้ได้โบนัสก้อนโตได้อย่างไรบ้าง? Jobcadu จะพาทุกคนไปเจาะลึกทุกประเด็นเกี่ยวกับโบนัสที่ควรรู้ ไปดูกัน! เงินโบนัส คืออะไร? โบนัส (Bonus) คือเงินพิเศษที่นายจ้างจ่ายให้แก่พนักงานนอกเหนือจากเงินเดือนปกติ เป็น “ผลตอบแทน” ของผลงานที่ทำให้บริษัทเติบโต หรือเพื่อเป็นแรงจูงใจในการทำงานของพนักงาน เงินโบนัสจำเป็นไหม? ในทางกฎหมาย โบนัสไม่ใช่สิ่งจำเป็นที่นายจ้างต้องจ่ายให้โดยอัตโนมัติเหมือนเงินเดือน แต่เป็นสวัสดิการที่ขึ้นอยู่กับนโยบายของแต่ละบริษัท อย่างไรก็ตาม สำหรับพนักงาน เงินโบนัสมีความสำคัญในหลายด้าน เช่น สร้างขวัญและกำลังใจ: เป็นการแสดงความชื่นชมและตอบแทนความทุ่มเทของพนักงาน เพิ่มรายได้: ช่วยเพิ่มสภาพคล่องทางการเงิน กระตุ้นประสิทธิภาพในการทำงาน: เป็นแรงจูงใจให้พนักงานตั้งใจทำงานให้ดีขึ้น เพื่อให้บริษัทมีผลประกอบการที่ดี ดึงดูดและรักษาพนักงาน: บริษัทที่มีนโยบายการจ่ายโบนัสที่ชัดเจนและจูงใจ มักจะดึงดูดคนเก่งเข้ามาทำงานและรักษาพนักงานให้อยู่กับองค์กรได้นานขึ้น ประเภทของโบนัส โบนัสประจำปี (Annual Bonus): จ่ายสิ้นปีตามผลประกอบการ โบนัสตามผลงาน (Performance Bonus): ขึ้นอยู่กับ KPI หรือผลงานรายบุคคล โบนัสตามสัญญา (Contractual Bonus): ระบุไว้ในสัญญา เช่น โบนัส 1 เดือน โบนัสพิเศษ (Special Bonus): เช่น โปรเจกต์ใหญ่ หรือรางวัลพนักงานดีเด่น โบนัสคิดยังไง? 1. คิดตามเปอร์เซ็นต์เงินเดือน เช่น: ได้โบนัส 2 เท่าของเงินเดือน เงินเดือน 30,000 → โบนัส 60,000 2. คิดตามคะแนนประเมินผลงาน (Performance Rating) เช่น: คะแนน 5/5 = 200% ของเงินเดือน คะแนน 3/5 = 100% คะแนน 1/5 = ไม่ได้รับเลย ซึ่งบริษัทใหญ่ ๆ มักใช้ สูตรผสม คือ ดูทั้งผลงาน + ภาพรวมบริษัท วิธีหรือเกณฑ์การประเมินว่าปีนี้ควรได้โบนัสไหม? เกณฑ์การพิจารณาการจ่ายโบนัสแตกต่างกันไปในแต่ละบริษัท แต่โดยทั่วไปแล้วมักพิจารณาจากปัจจัยหลักๆ ดังนี้ 1.ผลประกอบการของบริษัท: นี่คือปัจจัยสำคัญที่สุด หากบริษัทมีผลกำไรที่ดี มีรายได้ตามเป้าหมาย หรือเกินเป้าหมาย โอกาสในการจ่ายโบนัสก็จะสูงขึ้น ในทางกลับกัน หากบริษัทประสบภาวะขาดทุนหรือทำผลงานได้ไม่ดีนัก โบนัสก็อาจจะลดลงหรือไม่จ่ายเลย 2.ผลการปฏิบัติงานของพนักงาน (Individual Performance): KPI (Key Performance Indicator): ตัวชี้วัดผลงานของแต่ละบุคคล หากพนักงานสามารถทำได้ตามเป้าหมาย หรือเกินเป้าหมายที่กำหนดไว้ ก็มีแนวโน้มที่จะได้รับโบนัส – KPI คืออะไร การประเมินโดยหัวหน้างาน: การประเมินจากผู้จัดการโดยตรงเกี่ยวกับความรับผิดชอบที่มีต่องาน การทำงานร่วมกับผู้อื่น และคุณสมบัติอื่นๆ ประกอบการพิจารณา 3.ระยะเวลาการทำงาน: พนักงานที่ทำงานครบกำหนดตามเงื่อนไขของบริษัท (เช่น ครบ 1 ปี) มักจะมีสิทธิ์ได้รับโบนัสเต็มจำนวน ส่วนพนักงานที่เข้าทำงานไม่ครบปีอาจได้รับโบนัสตามสัดส่วน โบนัสจ่ายตอนไหน? ช่วงเวลาการจ่ายโบนัสแตกต่างกันไปตามนโยบายบริษัทและรอบการประเมินผลประกอบการ: ปลายปี (ธันวาคม - มกราคม): เป็นช่วงที่พบเห็นได้บ่อยที่สุด โดยเฉพาะบริษัทที่ปิดงบประมาณและประเมินผลงานประจำปีในช่วงปลายปี กลางปี (มิถุนายน - กรกฎาคม): บางบริษัทอาจจ่ายโบนัสกลางปี (Mid-year Bonus) เพื่อเป็นขวัญกำลังใจ หรือจ่ายโบนัสตามผลประกอบการของครึ่งปีแรก จ่ายตามไตรมาส (Quarterly Bonus): สำหรับบางธุรกิจที่ต้องการกระตุ้นผลงานอย่างต่อเนื่อง อาจมีการจ่ายโบนัสทุกๆ ไตรมาส จ่ายเมื่อทำโปรเจกต์สำเร็จ (Project Bonus): สำหรับบางตำแหน่งงานหรือบางอุตสาหกรรม อาจมีโบนัสพิเศษเมื่อทำโปรเจกต์สำคัญสำเร็จตามเป้าหมาย Top 5 บริษัทจ่ายโบนัสสูง เเบ่งตามอุตสาหกรรม ภาคอุตสาหกรรม (โรงงาน/ผลิต) 1.Mitsubishi Electric โบนัสเฉลี่ย 7.5 เดือน เงินพิเศษ +10,000 บาท 2.Aisin Powertrain โบนัสเฉลี่ย 7.4 เดือน  เงินพิเศษ +41,000 บาท 3.Siam Aisin โบนัสเฉลี่ย 7.2 เดือน เงินพิเศษ +25,000 บาท 4.Daikin โบนัสเฉลี่ย 7 เดือน เงินพิเศษ +21,000 บาท 5.JTEKT โบนัสเฉลี่ย 6.5 เดือน เงินพิเศษ +34,000 บาท ภาคธนาคาร 1.ธนาคารไทยพาณิชย์ โบนัสเฉลี่ย 4.5 เดือน 2.ธนาคารกรุงไทย โบนัสเฉลี่ย 4.5 เดือน 3.ธนาคารกรุงศรีอยุธยา โบนัสเฉลี่ย 4.5 เดือน 4.ธนาคารเกียรตินาคิน โบนัสเฉลี่ย 4.5 เดือน 5.ธนาคารกรุงเทพ โบนัสเฉลี่ย 4.5 เดือน กลุ่มยานยนต์ 1.Toyota โบนัสเฉลี่ย 8 เดือน  เงินพิเศษ +45,000 บาท 2.ISUZU โบนัสเฉลี่ย 8 เดือน 3.Hino โบนัสเฉลี่ย 7.3 เดือน เงินพิเศษ +40,000 บาท 4.Honda โบนัสเฉลี่ย 6.25 เดือน เงินพิเศษ +37,000 บาท 5.Ford โบนัสเฉลี่ย 6.03 เดือน  เงินพิเศษ +28,000 บาท อ้างอิง: KruDew TOEIC ติวโทอิค Online การจ่ายโบนัสของแต่ละบริษัทขึ้นอยู่กับหลายปัจจัยและอาจมีการเปลี่ยนแปลงในแต่ละปี ดังนั้น ควรศึกษาข้อมูลจากแหล่งข่าวที่น่าเชื่อถือ หรือสอบถามจากผู้ที่อยู่ในสายงานนั้นๆ เพิ่มเติม โบนัสคือแรงจูงใจที่สำคัญ แต่สิ่งที่สำคัญยิ่งกว่าคือการพัฒนาตัวเองให้มีคุณค่าต่อองค์กร ซึ่งการเข้าใจว่าโบนัสคืออะไร มีเกณฑ์อย่างไร จะช่วยให้เราวางแผนการทำงานและพัฒนาตัวเองได้มากขึ้น หากใครที่กำลังมองหางานที่มีสวัสดิการดีๆ รวมถึงโบนัสที่น่าสนใจ เข้ามาหางานคุณภาพจากหลากหลายบริษัทชั้นนำได้ที่ Jobcadu พร้อม Career เเนะนำเส้นทางอาชีพเเละพัฒนาทักษะ อัปเดตเเบบจัดเต็มทุกสัปดาห์

    Jul 14, 2025
    5 min
    Thumbnail for Dự đoán thị trường lao động cuối năm 2025: Biến động và cơ hội

    Dự đoán thị trường lao động cuối năm 2025: Biến động và cơ hội

    Dự đoán thị trường lao động cuối năm 2025: Biến động và cơ hội I. Tổng quan thị trường lao động Việt Nam 6 tháng đầu năm 2025 Trong nửa đầu năm 2025, thị trường lao động Việt Nam ghi nhận sự phục hồi ổn định nhưng chưa bứt phá mạnh. Theo báo cáo từ Tổng cục Thống kê, tỷ lệ thất nghiệp ở khu vực thành thị giảm xuống còn 3,2%, thấp hơn cùng kỳ năm 2024. Sự phục hồi này tập trung chủ yếu ở các ngành như thương mại điện tử, công nghệ và dịch vụ chăm sóc sức khỏe. Một số ngành có xu hướng chững lại bao gồm bất động sản, xây dựng và du lịch quốc tế do ảnh hưởng kéo dài từ chính sách tiền tệ thắt chặt và lạm phát toàn cầu. Mặc dù vậy, khu vực kinh tế số tiếp tục tăng trưởng mạnh, tạo ra nhiều cơ hội việc làm mới. II. Ngành nghề có nhu cầu tuyển dụng cao Công nghệ thông tin & dữ liệu Logistics và chuỗi cung ứng Y tế, chăm sóc sức khỏe, dịch vụ Ngành "xanh" và năng lượng tái tạo III. Thị trường lao động cho người mới ra trường 1. Cơ hội và thách thức cho thế hệ Gen Z Gen Z là lực lượng lao động chính mới nổi, với lợi thế về công nghệ và sáng tạo. Tuy nhiên, thiếu kinh nghiệm thực tế, thái độ công việc thiếu kiên nhẫn và kỳ vọng cao về thu nhập đang là những rào cản lớn. Doanh nghiệp đang chuyển hướng tập trung vào đào tạo và mentor để giữ chân nhân sự trẻ. 2. Xu hướng "đa nghề" & "gig economy" Nhiều bạn trẻ chọn làm freelancer hoặc làm song song nhiều công việc (multi-jobbing) để vừa học hỏi vừa tăng thu nhập. Nền tảng như Jobcadu giúp Gen Z tự chủ hơn trong định hướng nghề nghiệp. IV. Chiến lược tìm việc hiệu quả từ tháng 7 đến cuối năm 2025 1. Tận dụng nền tảng mạng xã hội nghề nghiệp Jobcadu, LinkedIn và Glints là những nơi giúp bạn kết nối với nhà tuyển dụng, đăng tải bài viết chuyên môn và thể hiện giá trị cá nhân. Việc tương tác trên các nền tảng này ngày càng có sức ảnh hưởng trong quy trình tuyển dụng. 2. Học thêm kỹ năng qua khoá học online Việc học kỹ năng mới qua Coursera, Udemy hoặc các nền tảng nội địa như Jobcadu giúp bạn “đi tắt đón đầu” xu hướng. Tận dụng nửa cuối năm để học thêm sẽ tạo lợi thế lớn khi bước vào năm 2026. 👉 Bắt đầu hành trình nghề nghiệp cùng Jobcadu Bạn đã sẵn sàng để hành động? Đừng chờ đợi cơ hội gõ cửa, hãy chủ động tìm kiếm việc làm và trau dồi kỹ năng tại Jobcadu: 🔍 Khám phá việc làm mới nhất tại đây 🎓 Học kỹ năng thực chiến cùng Jobcadu Education Cơ hội không chờ đợi ai – hãy là người tạo ra con đường riêng cho chính mình!

    Jul 8, 2025
    5 min
    Thumbnail for Pride Month คืออะไร? ทำไมองค์กรควรให้ความสำคัญ และมีบริษัทไหนบ้างในไทยที่เปิดรับ LGBTQ+ อย่างจริงจัง

    Pride Month คืออะไร? ทำไมองค์กรควรให้ความสำคัญ และมีบริษัทไหนบ้างในไทยที่เปิดรับ LGBTQ+ อย่างจริงจัง

    Pride Month คืออะไร? Pride Month หรือ เดือนแห่งความภาคภูมิใจของชาว LGBTQ+ (1-30 มิถุนายน )จัดขึ้นในเดือนมิถุนายนของทุกปี เป็นช่วงเวลาที่ทั่วโลกร่วมกันเฉลิมฉลองความหลากหลายทางเพศและสนับสนุนสิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ หรือ LGBTQIAN+ (Lesbian, Gay, Bisexual, Transgender, Queer, Intersex, Asexual, Non-binary และอื่นๆ) เดือนนี้มีที่มาจากการจลาจลสโตนวอลล์ (Stonewall Riots) ในนครนิวยอร์กเมื่อปี 1969 ซึ่งเป็นการลุกฮือของกลุ่มคนหลากหลายทางเพศเพื่อเรียกร้องสิทธิและความเท่าเทียม นับตั้งแต่นั้นมา Pride Month ก็กลายเป็นสัญลักษณ์ของการต่อสู้เพื่อการยอมรับ การเปิดเผยตัวตน และการสร้างความเข้าใจในสังคม Lesbian : ผู้หญิงที่รักหรือดึงดูดทางเพศกับผู้หญิงด้วยกัน Gay : ผู้ชายที่รักหรือดึงดูดทางเพศกับผู้ชายด้วยกัน (บางครั้งใช้รวมหมายถึงคนรักเพศเดียวกันทุกเพศ) Bisexual : คนที่ดึงดูดทางเพศได้ทั้งกับเพศเดียวกันและเพศตรงข้าม Transgender : คนที่อัตลักษณ์ทางเพศไม่ตรงกับเพศกำเนิด Queer : คำเรียกรวมๆ สำหรับคนที่ไม่เป็นไปตามเพศวิถีหรืออัตลักษณ์ทางเพศแบบดั้งเดิม (บางคนใช้เพื่อระบุอัตลักษณ์ของตนเอง) Intersex : คนที่เกิดมามีลักษณะทางเพศ (เช่น โครโมโซม อวัยวะสืบพันธุ์ หรือฮอร์โมน) ที่ไม่เข้ากับการจำแนกเป็นชายหรือหญิงแบบชัดเจน Asexual : คนที่ไม่รู้สึกดึงดูดทางเพศต่อผู้อื่น หรือดึงดูดน้อยมาก Non-binary : คนที่ไม่ระบุอัตลักษณ์ทางเพศของตนว่าเป็นชายหรือหญิงโดยตรง อาจอยู่ระหว่างหรืออยู่นอกเหนือระบบสองเพศ (binary) ในแต่ละปี Pride Month จะมีการจัดกิจกรรมต่างๆ ทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นขบวนพาเหรด (Pride Parade) การจัดงานเสวนา การแสดงดนตรี ศิลปะ และกิจกรรมที่เน้นการสร้างพื้นที่ปลอดภัยและการรวมตัวของกลุ่มคนหลากหลายทางเพศ Pride ไม่ใช่แค่การเฉลิมฉลอง  มันคือช่วงเวลาสำคัญในการ ทบทวนบทบาทของตนเองในที่ทำงานและสังคม ว่าเราได้เปิดพื้นที่ให้กับเพื่อนร่วมงานหรือไม่ และได้ส่งเสริมความหลากหลายอย่างแท้จริงหรือเปล่า ตัวอย่างบริษัทที่ใส่ใจความหลากหลาย สนับสนุน LGBTQ+ อย่างจริงจัง 1. ศรีจันทร์ สหโอสถ บริษัทไทยที่แสดงออกถึงการเปิดรับความหลากหลายผ่าน นโยบายสวัสดิการแบบครอบคลุม ไม่ว่าคุณจะโสด มีครอบครัว หรือเป็นชาว LGBTQ+ ทุกคนมีสิทธิ์ได้รับสวัสดิการอย่างเท่าเทียม โดยมีสิทธิประโยชน์ที่น่าสนใจ เช่น: ลาคลอด (Maternity Leave) ได้สูงสุด 180 วัน โดยยังได้รับค่าจ้างตามปกติ พ่อลางานได้ 30 วันเพื่อดูแลภรรยาและลูก (Parental Leave) ลาเพื่อการผ่าตัดแปลงเพศได้สูงสุด 30 วัน ลาพักใจในกรณีสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก ได้ไม่เกิน 10 วัน 2. Johnson & Johnson องค์กรระดับโลกที่มีนโยบายด้านความหลากหลายทางเพศอย่างเด่นชัด และ ขยายสวัสดิการให้ครอบคลุมถึงคู่ชีวิตเพศเดียวกัน โดยพนักงาน LGBTQ+ สามารถเบิกค่ารักษาพยาบาลของคู่ชีวิตได้ และยังมีสิทธิ์ในการเข้าถึงประกันสุขภาพ การรักษาพยาบาลแบบผู้ป่วยใน/นอก รวมถึงบริการให้คำปรึกษาทางสุขภาพจิตทั้งของพนักงานและสมาชิกครอบครัว 3. LINE MAN Wongnai ภายใต้ Core Value อย่าง “Respect Everyone” องค์กรนี้ได้ออกสวัสดิการเฉพาะที่แสดงถึงการเคารพและสนับสนุนพนักงาน LGBTQ+ เช่น: เงินสนับสนุนการแต่งงานของคู่รักเพศเดียวกัน 20,000 บาท สิทธิ์ลาสำหรับการรับบุตรบุญธรรม 10 วัน ลาพักเพื่อผ่าตัดแปลงเพศสูงสุด 30 วัน นอกจากนี้ยังมีการจัดกิจกรรมช่วง Pride Month ทั้งกิจกรรมดูหนัง LGBTQ+, เชิญแขกรับเชิญมาเสวนา และเปิดโครงการระดมทุนภายในเพื่อส่งต่อให้มูลนิธิด้านความเท่าเทียม 4. แสนสิริ ถือเป็นบริษัทไทยรายแรกที่ลงนามในแนวปฏิบัติระดับโลกของสหประชาชาติด้านสิทธิมนุษยชนของ LGBTQ+ โดยให้ความสำคัญกับความเท่าเทียมทั้งในองค์กรและสังคม เช่น: วันลาสมรส 6 วัน/ปี (สำหรับทุกคู่ชีวิต) ลาผ่าตัดแปลงเพศ 30 วัน/ปี ลาฌาปนกิจคู่ชีวิต 15 วัน/ปี ลาดูแลคู่ชีวิตหรือบุตรบุญธรรม 7 วัน/ปี ขยายความคุ้มครองประกันสุขภาพให้กับคู่ชีวิตของพนักงาน 5. Shell Thailand Shell มีการจัดตั้งเครือข่าย LGBTQ+ Network ภายในบริษัท เพื่อส่งเสริมความเข้าใจและให้การสนับสนุนเพื่อนร่วมงาน LGBTQ+ อย่างแท้จริง นอกจากนี้ Shell ยังเป็นสมาชิกของ Workplace Pride ซึ่งเป็นองค์กรไม่แสวงหากำไรระดับนานาชาติ ที่มีเป้าหมายสนับสนุนความเท่าเทียมในสถานที่ทำงานทั่วโลก บริษัทที่สนับสนุน Pride Month โดยการบริจาคหรือทำแคมเปญ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.): จัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว LGBTQ+ ทั่วประเทศ เเละสนับสนุนงาน Pride ผ่านการใช้ "Soft Power" ของเทศกาลและกิจกรรมสร้างสรรค์ เพื่อยกระดับภาพลักษณ์ของประเทศและกระตุ้นเศรษฐกิจ ผ่านการจัดกิจกรรม Amazing Thailand Love Wins Festival (Pride Month) 2568 ทั่วประเทศตลอดเดือนมิถุนายน TikTok Thailand: เปิดตัวแคมเปญ #PrideTogether ส่งเสริมเสียงของ LGBTQ+ creators บนแพลตฟอร์ม พร้อมทั้งสนับสนุนเงินให้มูลนิธิ LGBTQ+ ในไทย IKEA Thailand: ออกสินค้ารุ่น Pride พิเศษ ผ่านการใช้แฮชแท็ก #IKEAforeveryone เพื่อแสดงออกถึงการเคารพและสนับสนุนในความหลากหลาย เเละยังมีแคมเปญ "บ้าน...ที่ทุกคนเป็นตัวเองได้เต็มที่ (Make the World Everyone's Home)" โดยใช้ ธงสายรุ้งเป็นสัญลักษณ์หลัก เพื่อสะท้อนแนวคิดที่ว่า “ทุกคนควรรู้สึกว่าทุกที่คือบ้าน” ไม่ว่าจะเป็นเพศใด วัยไหน หรือมีอัตลักษณ์ทางเพศแบบใดก็ตาม โดยรายได้ส่วนหนึ่งบริจาคให้มูลนิธิที่ส่งเสริมความเท่าเทียม แนวทางปฏิบัติตัวต่อเพื่อนร่วมงาน LGBTQ+ ใช้สรรพนามให้ถูกต้อง: หากไม่แน่ใจ ให้ถามอย่างสุภาพ หรือดูจากลายเซ็นอีเมลหรือโปรไฟล์ อย่าเดาอัตลักษณ์ทางเพศ ของใครจากรูปลักษณ์ ไม่ใช้คำถามส่วนตัวหรือหยาบคาย เพราะถือเป็นการละเมิดความเป็นส่วนตัว ส่งเสริมและสนับสนุนอย่างแท้จริง เช่น เข้าร่วมกิจกรรม Pride, แชร์ข้อมูลหรือแคมเปญที่มีประโยชน์, สนับสนุนสินค้าหรือบริการจากกลุ่ม LGBTQ+ พูดคุยด้วยความเคารพเสมอ เช่นเดียวกับที่คุณอยากให้คนอื่นเคารพคุณ บริษัทที่แสดงการสนับสนุนอย่างชัดเจนและต่อเนื่องมักจะเป็นบริษัทที่มีชื่อเสียงและมีนโยบายด้านความหลากหลายที่แข็งแกร่งอยู่แล้ว การที่บริษัทแสดงจุดยืนในการสนับสนุน Pride Month ไม่ใช่เพียงแค่การสร้างภาพลักษณ์ แต่ยังสะท้อนถึงค่านิยมขององค์กรที่ให้ความสำคัญกับความเท่าเทียม การยอมรับ และการสร้างสังคมที่ทุกคนสามารถเป็นตัวเองได้อย่างภาคภูมิใจ ทำไม Pride ถึงสำคัญต่อที่ทำงาน? Pride Month ไม่ได้มีไว้แค่เฉลิมฉลอง แต่คือการชวนให้ทุกคน กลับมาทบทวนบทบาทของตัวเองในองค์กร ว่าเราได้เปิดพื้นที่และโอกาสให้ทุกคนอย่างเท่าเทียมแล้วหรือยัง หากคุณเป็นทั้งผู้สมัครงาน หรือ HR ขององค์กร Jobcadu ขอเป็นหนึ่งในแพลตฟอร์มที่สนับสนุนความหลากหลายทางเพศ ด้วยการเปิดให้คุณเลือกอัตลักษณ์ได้อิสระ สร้างโปรไฟล์ที่ตรงกับตัวตนของคุณ และเชื่อมโยงคุณกับองค์กรที่เห็นคุณค่าที่แท้จริงในตัวคุณ อย่ารอช้า! เริ่มต้นเส้นทางอาชีพใหม่ที่น่าตื่นเต้นกับ Jobcadu Jobs วันนี้! ลงทะเบียนสร้างโปรไฟล์ของ คุณ และค้นพบโอกาสงานที่รอคุณอยู่

    Jun 27, 2025
    5 min
    ...